Download Print this page

DeWalt DW714 Original Instructions Manual page 63

Hide thumbs Also See for DW714:

Advertisement

Available languages
  • EN

Available languages

  • ENGLISH, page 1
• ต้ อ งแน่ ใ จว่ า ได้ ใ ช้ แ ผ่ น ร่ อ งตั ด ห้ า มใช้ ง านเครื ่ อ งหากช่ อ งของร่ อ งตั ด มี ค วาม
กว้ า งกว่ า 10 มม.
การเปิ ดและปิ ดสวิ ต ช ์ (รู ป 24)
รู (y) มี อ ยู ่ ท ี ่ ส วิ ต ช์ เ ปิ ด /ปิ ด (l) เพื ่ อ ใส่ ก ุ ญ แจล็ อ คเพื ่ อ ล็ อ คเครื ่ อ งมื อ
1. กดสวิ ต ช์ เ ปิ ด /ปิ ด (l) เพื ่ อ เปิ ด เครื ่ อ ง
2. หากต้ อ งการหยุ ด เครื ่ อ งมื อ ให้ ป ล่ อ ยสวิ ต ช์
ต� า แหน่ ง ของร่ า งกายและมื อ
การวางต� า แหน่ ง ของร่ า งกายและมื อ ให้ ถ ู ก ต้ อ งขณะใช้ ง านแท่ น ตั ด องศาจะท� า ให้
การตั ด ง่ า ยขึ ้ น เที ่ ย งตรงและปลอดภั ย ยิ ่ ง ขึ ้ น
• อย่ า วางมื อ ไว้ ใ กล้ พ ื ้ น ที ่ ต ั ด เด็ ด ขาด
• มื อ ต้ อ งอยู ่ ห ่ า งจากใบเลื ่ อ ยอย่ า งน้ อ ย 150 มม.
• ยึ ด ชิ ้ น งานให้ ต ิ ด กั บ แท่ น และแผงกั ้ น ขณะที ่ ก � า ลั ง ตั ด วางมื อ ในต� า แหน่ ง เดิ ม
จนกว่ า จะปล่ อ ยสวิ ต ช์ แ ละใบเลื ่ อ ยหยุ ด สนิ ท แล้ ว
• ซ้ อ มเลื ่ อ ย (โดยไม่ ต ้ อ งเปิ ด เครื ่ อ ง) ก่ อ นที ่ จ ะเลื ่ อ ยจริ ง ทุ ก ครั ้ ง เพื ่ อ ตรวจสอบ
เส้ น ทางของใบเลื ่ อ ย
• อย่ า ไขว้ ม ื อ
• เท้ า ทั ้ ง สองต้ อ งอยู ่ บ นพื ้ น อย่ า งมั ่ น คงและรั ก ษาสมดุ ล ที ่ เ หมาะสมตลอดเวลา
• ขณะที ่ ค ุ ณ เคลื ่ อ นแขนของเลื ่ อ ยไปทางซ้ า ยและขวา ให้ เ คลื ่ อ นตั ว ตามและ
ยื น ค่ อ นไปทางด้ า นเดี ย วกั น กั บ ใบเลื ่ อ ย
• มองผ่ า นช่ อ งบานเกล็ ด ของตั ว ครอบป้ อ งกั น เมื ่ อ ต้ อ งการตั ด ตามรอยดิ น สอ
การต ัดด้ ว ยเลื ่ อ ยข ั ้ นพื ้ น ฐาน
การต ัดตรงในแนวต ั ้ ง (รู ป 1, 2, 25)
หมายเหตุ : ใช้ ใ บเลื ่ อ ยขนาด 254 มม. กั บ รู ย ึ ด ขนาด 30 มม. เสมอ (หมายเหตุ :
บางภู ม ิ ภ าคเป็ น 25.4 มม.) เพื ่ อ ให้ ไ ด้ ร ะยะการตั ด ที ่ ต ้ อ งการ
1. คลายมื อ จั บ ล็ อ คองศา (e) แล้ ว กดก้ า นล็ อ คองศา (t) เพื ่ อ คลายแขนแท่ น
ตั ด องศา
2. เลื ่ อ นสลั ก แท่ น ตั ด องศาไปที ่ ต � า แหน่ ง 0° แล้ ว หมุ น มื อ จั บ ล็ อ คองศา (e) ให้
แน่ น
3. วางไม้ ท ี ่ จ ะตั ด แนบกั บ แผงกั ้ น (c, v)
4. ถื อ มื อ จั บ ควบคุ ม การท� า งาน (a) แล้ ว กดก้ า นปล่ อ ยตั ว ล็ อ คส่ ว นหั ว (cc)
เพื ่ อ คลายล็ อ คส่ ว นหั ว
5. กดสวิ ต ช์ ไ ก (l) เพื ่ อ เริ ่ ม การท� า งานของมอเตอร์
6. กดส่ ว นหั ว เพื ่ อ ให้ ใ บเลื ่ อ ยตั ด ผ่ า นท่ อ นไม้ แ ละลงไปถึ ง แผ่ น ร่ อ งตั ด พลาสติ ก
(s)
7. หลั ง จากการตั ด เสร็ จ สิ ้ น ให้ ป ล่ อ ยสวิ ต ช์ แ ล้ ว รอจนกว่ า ใบเลื ่ อ ยจะหยุ ด สนิ ท
ก่ อ นยกส่ ว นหั ว กลั บ ไปยั ง ต� า แหน่ ง พั ก ด้ า นบน
การต ัดองศาในแนวต ั ้ ง (รู ป 1, 2, 26)
1. คลายมื อ จั บ ล็ อ คองศา (e) แล้ ว กดก้ า นล็ อ คองศา (t) เลื ่ อ นส่ ว นหั ว ไปทาง
ซ้ า ยหรื อ ขวายั ง มุ ม ที ่ ต ้ อ งการ
2. ก้ า นล็ อ คองศาจะอยู ่ ท ี ่ 0º, 15º, 22.5º, 30º และ 45º โดยอั ต โนมั ต ิ ถ้ า
ต้ อ งการมุ ม ระหว่ า งกลางหรื อ 52º ให้ จ ั บ ส่ ว นหั ว ให้ แ น่ น แล้ ว ล็ อ คด้ ว ยมื อ จั บ
ล็ อ คองศา (e) ให้ แ น่ น
3. ต้ อ งแน่ ใ จทุ ก ครั ้ ง ว่ า ก้ า นล็ อ คองศาถู ก ล็ อ คอย่ า งแน่ น หนาก่ อ นท� า การตั ด
4. ด� า เนิ น การเหมื อ นกั บ การตั ด ตรงในแนวตั ้ ง
ค � า เตื อ น: เมื ่ อ ตั ด องศาส่ ว นปลายของชิ ้ น ไม้ โ ดยจะมี ช ิ ้ น ส่ ว นเล็ ก ๆ
ถู ก ตั ด ออก ให้ ว างต� า แหน่ ง ไม้ ใ ห้ ส ่ ว นที ่ ถ ู ก ตั ด ออกอยู ่ ด ้ า นใบเลื ่ อ ย
ที ่ ท � า มุ ม กว้ า งกว่ า กั บ แผงกั ้ น เช่ น การตั ด องศาทางซ้ า ย ให้ ส ่ ว นที ่
ถู ก ตั ด ออกอยู ่ ท างขวา การตั ด องศาทางขวา ให้ ส ่ ว นที ่ ถ ู ก ตั ด ออก
อยู ่ ท างซ้ า ย
การต ัดเอี ย ง (รู ป 1, 2, 27)
สามารถตั ้ ง มุ ม เอี ย งได้ ต ั ้ ง แต่ 0º ทางขวาไปจนถึ ง 45° ทางซ้ า ย และตั ด ได้ ด ้ ว ย
แขนองศาระหว่ า งศู น ย์ อ งศาและสู ง สุ ด ที ่ ต � า แหน่ ง 45° ทางด้ า นขวาหรื อ ด้ า น
ซ้ า ย
1. คลายลู ก บิ ด ตั ว หนี บ แผงกั ้ น ด้ า นซ้ า ย (k) แล้ ว เลื ่ อ นส่ ว นบนของแผงกั ้ น ด้ า น
ซ้ า ย (v) ไปทางซ้ า ยจนสุ ด คลายลู ก บิ ด ตั ว หนี บ ส� า หรั บ ตั ด เอี ย ง (p) และ
ตั ้ ง มุ ม เอี ย งที ่ ต ้ อ งการ
2. หมุ น ลู ก บิ ด ตั ว หนี บ ส� า หรั บ ตั ด เอี ย ง (p) ให้ แ น่ น
3. ด� า เนิ น การเหมื อ นกั บ การตั ด ตรงในแนวตั ้ ง
คุ ณ ภาพของการต ัด
ความเรี ย บของการตั ด ขึ ้ น กั บ ตั ว แปรหลายอย่ า ง เช่ น วั ส ดุ ท ี ่ ต ั ด เมื ่ อ ต้ อ งการงาน
ตั ด ที ่ เ รี ย บที ่ ส ุ ด ส� า หรั บ การท� า คิ ้ ว บั ว และงานอื ่ น ๆ ที ่ ต ้ อ งการความประณี ต ใบ
เลื ่ อ ยแบบแหลม (ฟั น เลื ่ อ ยคาร์ ไ บด์ เ บอร์ 60) และการตั ด อย่ า งช้ า ๆ ส� า หรั บ งาน
ไม้ และใบเลื ่ อ ยแบบแหลม (ฟั น เลื ่ อ ยคาร์ ไ บด์ เ บอร์ 80-120) และการตั ด อย่ า ง
ช้ า ๆ ส� า หรั บ งานอลู ม ิ เ นี ย ม พร้ อ มด้ ว ยการตั ด อย่ า งสม� ่ า เสมอจะท� า ให้ ไ ด้ ผ ลลั พ ธ์
ที ่ ต ้ อ งการ
ค � า เตื อ น: ตรวจสอบให้ แ น่ ใ จว่ า วั ส ดุ ไ ม่ เ ลื ่ อ นหนี ข ณะก� า ลั ง ตั ด ให้
หนี บ ชิ ้ น งานให้ อ ยู ่ ก ั บ ที ่ ปล่ อ ยให้ ใ บเลื ่ อ ยหยุ ด สนิ ท ก่ อ นที ่ จ ะยก
แขนเลื ่ อ ยขึ ้ น ทุ ก ครั ้ ง ถ้ า ยั ง มี เ ศษไม้ ย ื ่ น ออกมาที ่ ด ้ า นหลั ง ของชิ ้ น
งาน ให้ ใ ช้ เ ทปติ ด บนไม้ บ ริ เ วณที ่ จ ะท� า การตั ด แล้ ว เลื ่ อ ยผ่ า นเทป
ไป เสร็ จ แล้ ว ให้ ค ่ อ ยๆ ดึ ง เทปออก
การหนี บ ช ิ ้ น งาน (รู ป 3, 7, 38)
1. ทุ ก ครั ้ ง ที ่ เ ป็ น ไปได้ ให้ ห นี บ ไม้ / อลู ม ิ เ นี ย มกั บ เลื ่ อ ย
2. เพื ่ อ ให้ ไ ด้ ผ ลลั พ ธ์ ท ี ่ ด ี ท ี ่ ส ุ ด ให้ ใ ช้ ต ั ว หนี บ (gg) ที ่ ท � า ขึ ้ น ส� า หรั บ ใช้ ก ั บ เลื ่ อ ย
ของคุ ณ หนี บ ชิ ้ น งานกั บ แผงกั ้ น ทุ ก ครั ้ ง ที ่ ส ามารถท� า ได้ คุ ณ สามารถหนี บ
กั บ ใบเลื ่ อ ยด้ า นใดก็ ไ ด้ ให้ เ ลื อ กต� า แหน่ ง ของตั ว หนึ บ กั บ แผงกั ้ น ในบริ เ วณที ่
เรี ย บและแข็ ง แรง
3. การติ ด ตั ้ ง ตั ว หนี บ (รู ป 7, 38):
ใส่ ต ั ว หนี บ แนวตั ้ ง ลงในช่ อ ง (mm) ตามที ่ แ สดงในรู ป 7 จากนั ้ น หมุ น ไปยั ง
ต� า แหน่ ง ขวา
ถ้ า ต้ อ งใช้ ต ั ว หนี บ แนวนอน โปรดติ ด ตั ้ ง ตั ว หนี บ แนวนอนในช่ อ ง (qq) ตาม
ที ่ แ สดงในรู ป 38
ค � า เตื อ น: ใช้ ต ั ว หนี บ วั ส ดุ เ สมอเมื ่ อ ตั ด โลหะที ่ ไ ม่ ใ ช่ เ หล็ ก
ค � า เตื อ น: ควรใช้ ท ั ้ ง ตั ว หนี บ แนวตั ้ ง และแนวนอนเมื ่ อ มี ก ารตั ด ชิ ้ น
งานขนาดเล็ ก เสมอ
การรองร ับช ิ ้ น งานที ่ ย าว (รู ป 3, 8)
1. ต้ อ งรองรั บ ชิ ้ น งานที ่ ย าวเสมอ
2. เพื ่ อ ให้ ไ ด้ ผ ลดี ท ี ่ ส ุ ด ให้ ใ ช้ แ ท่ น รองรั บ งาน (ii) เพื ่ อ ขยายความกว้ า งของ
แท่ น ของเลื ่ อ ย รองรั บ ชิ ้ น งานที ่ ย าวโดยใช้ ว ิ ธ ี ก ารใดก็ ไ ด้ ท ี ่ ส ะดวก เช่ น
เก้ า อี ้ พ าด หรื อ อุ ป กรณ์ ใ นลั ก ษณะดั ง กล่ า วเพื ่ อ ไม่ ใ ห้ ส ่ ว นปลายของชิ ้ น งาน
ตก
3. การติ ด ตั ้ ง แท่ น รองรั บ งาน (รู ป 8)
ใช้ ป ระแจขั น ใบเลื ่ อ ย (i) ที ่ ม ี ม าให้ เ พื ่ อ คลายสกรู
ใส่ แ ท่ น รองรั บ งานที ่ ร ู (h)
ขั น สกรู
การต ัดอลู ม ิเนี ย มเส ้ น
ค � า เตื อ น: อย่ า พยายามตั ด อลู ม ิ เ นี ย มเส้ น ที ่ ม ี ค วามหนาหรื อ ทรง
กลม อลู ม ิ เ นี ย มเส้ น ที ่ ห นาอาจโยกคลอนระหว่ า งการท� า งาน และ
อลู ม ิ เ นี ย มเส้ น ทรงกลมก็ ไ ม่ ส ามารถยึ ด กั บ เครื ่ อ งมื อ ได้ อ ย่ า งมั ่ น คง
เมื ่ อ ต้ อ งการยึ ด อลู ม ิ เ นี ย มเส้ น ให้ ใ ช้ บ ล็ อ ครองหรื อ ชิ ้ น วั ส ดุ ต ามที ่ แ สดงในรู ป 28
เพื ่ อ ป้ อ งกั น การบิ ด ตั ว ของอลู ม ิ เ นี ย ม ให้ ใ ช้ ส ารหล่ อ ลื ่ น ส� า หรั บ งานตั ด ขณะที ่ ต ั ด
อลู ม ิ เ นี ย มเส้ น เพื ่ อ ป้ อ งกั น การสะสมของวั ส ดุ อ ลู ม ิ เ นี ย มบนใบเลื ่ อ ย
การต ัดกรอบรู ป กรอบชาโดว์บอกซ ์ และโครงงาน
อื ่ น ๆ ที ่ ม ี ส ี ่ ด ้ า น (รู ป 29, 30)
การต ัดคิ ้ วบ ัวและกรอบอื ่ น ๆ
ลองโครงการง่ า ยๆ โดยใช้ ไ ม้ ช ิ ้ น เล็ ก จนกว่ า คุ ณ จะ "เข้ า ใจ" การใช้ ง านเลื ่ อ ยของ
คุ ณ เลื ่ อ ยของคุ ณ เป็ น เครื ่ อ งมื อ ที ่ เ หมาะสมในการตั ด มุ ม อย่ า งที ่ แ สดงไว้ ใ นรู ป
30 ข้ อ ต่ อ ตามที ่ แ สดงให้ เ ห็ น นั ้ น ท� า โดยใช้ ก ารปรั บ มุ ม เอี ย ง
การใช ้ ก ารปร ับมุ ม เอี ย ง
มุ ม เอี ย งของทั ้ ง สองกรอบจะถู ก ปรั บ เป็ น ข้ า งละ 45° แล้ ว ประกอบกั น เป็ น มุ ม 90°
แขนแท่ น ตั ด องศาจะล็ อ คอยู ่ ใ นต� า แหน่ ง ศู น ย์ การวางไม้ จ ะวางให้ ด ้ า นกว้ า งทาบ
กั บ แท่ น และขอบด้ า นแคบวางชิ ด กั บ แผงกั ้ น
ภาษาไทย
61

Advertisement

loading