Download Print this page

DeWalt DW714 Original Instructions Manual page 61

Hide thumbs Also See for DW714:

Advertisement

Available languages
  • EN

Available languages

  • ENGLISH, page 1
เครื ่ อ งมื อ DeWALT ใช้ ร ะบบฉนวนสองชั ้ น ที ่ ต รงตามมาตรฐาน IEC
61029 จึ ง ไม่ จ � า เป็ น ต้ อ งใช้ ส ายดิ น
ค� า เตื อ น: อุ ป กรณ์ ท ี ่ ใ ช้ ไ ฟ 110/115 โวลต์ ต้ อ งใช้ ง านผ่ า น
หม้ อ แปลงเดี ่ ย วแบบมี อ ุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น พร้ อ มทั ้ ง แผ่ น สายดิ น
ระหว่ า งขดลวดหลั ก กั บ ขดลวดรอง
ถ้ า สายไฟของตั ว เครื ่ อ งช� า รุ ด เสี ย หาย ต้ อ งเปลี ่ ย นเป็ น สายไฟที ่ จ ั ด เตรี ย มมาเป็ น
พิ เ ศษซึ ่ ง สั ่ ง ซื ้ อ ได้ จ ากศู น ย์ บ ริ ก ารของ D
การใช ้ ส ายพ่ ว ง
ถ้ า จ� า เป็ น ต้ อ งใช้ ส ายพ่ ว ง ควรใช้ ส ายพ่ ว งแบบ 3 แกนที ่ ผ ่ า นการรั บ รองและ
เหมาะสมกั บ ก� า ลั ง ไฟเข้ า ของเครื ่ อ งมื อ นี ้ (ดู ข้ อ มู ล ทางเทคนิ ค ) ขนาดของสื ่ อ
น� า ไฟฟ้ า ต� ่ า สุ ด คื อ 1.5 ตร.มม.
เมื ่ อ มี ก ารใช้ อ ุ ป กรณ์ ม ้ ว นเก็ บ สายไฟ ให้ ค ลายสายไฟออกจนหมดทุ ก ครั ้ ง
การประกอบ
ค� า เตือน: เพื ่ อ ลดความเส ี ่ ย งจากการบาดเจ็ บ ให้ ป ิ ดเครื ่ อ งมื อ
และถอดปล ั ๊ ก เครื ่ อ งมื อ ออกจากแหล่ ง จ่ า ยไฟก่ อ นการ
ประกอบและถอดอุ ป กรณ์ เ สริ ม ก่ อ นการปร ับแต่ ง หรื อ
เปลี ่ ย นการต ั ้ งค่ า หรื อ เมื ่ อ ท� า การซ ่ อ มแซม สวิ ต ช์ ต ้ อ งอยู ่ ใ น
ต� า แหน่ ง "ปิ ด " การเผลอเปิ ด เครื ่ อ งโดยไม่ ไ ด้ ต ั ้ ง ใจอาจเป็ น สาเหตุ
ให้ เ กิ ด การบาดเจ็ บ ได้
การน� า ออกจากบรรจุ ภ ัณฑ์ (รู ป 1, 2, 4, 5)
1. น� า เลื ่ อ ยออกจากกล่ อ งบรรจุ ภ ั ณ ฑ์ อ ย่ า งระมั ด ระวั ง โดยใช้ ม ื อ จั บ ส� า หรั บ ยก
(m)
2. ใช้ ป ระแจติ ด ตั ้ ง ใบเลื ่ อ ย (i) ที ่ ใ ห้ ม า เพื ่ อ ขั น โบลต์ ล ็ อ คองศาชั ่ ว คราวที ่ ม า
พร้ อ มกั บ การจั ด ส่ ง (hh) ออก
3. ติ ด ตั ้ ง มื อ จั บ ล็ อ คองศา (e) เข้ า กั บ แขนแท่ น ตั ด องศา
4. กดมื อ จั บ ควบคุ ม การท� า งาน (a) และดึ ง สลั ก ล็ อ คหั ว เลื ่ อ ยลง (o) ออกตาม
ที ่ แ สดง
5. ค่ อ ยๆ คลายแรงกดที ่ ก ดลง และปล่ อ ยให้ แ ขนยกขึ ้ น จนถึ ง ความสู ง เต็ ม ที ่
การยึดติดก ับโต๊ ะ ท� า งาน (รู ป 6)
1. ขาทั ้ ง สี ่ จ ะมี ร ู (j) เพื ่ อ ให้ ย ึ ด ติ ด กั บ โต๊ ะ ท� า งานได้ ง ่ า ย รู ม ี ส องขนาดเพื ่ อ ให้
เหมาะกั บ ขนาดของโบลต์ ท ี ่ ต ่ า งกั น ให้ ใ ช้ ร ู ใ ดรู ห นึ ่ ง ไม่ จ � า เป็ น ต้ อ งใช้ ท ั ้ ง
สองรู แนะน� า ให้ ใ ช้ โ บลต์ ท ี ่ ม ี เ ส้ น ผ่ า ศู น ย์ ก ลาง 8 มม. และยาว 40 มม. ยึ ด
แท่ น ตั ด ของคุ ณ ให้ ม ั ่ น คงทุ ก ครั ้ ง เพื ่ อ ป้ อ งกั น การเคลื ่ อ น ถ้ า ต้ อ งการให้
เคลื ่ อ นย้ า ยได้ ส ะดวก อาจยึ ด เครื ่ อ งมื อ ไว้ ก ั บ แผ่ น ไม้ อ ั ด ที ่ ห นาไม่ เ กิ น
15 มม. ซึ ่ ง สามารถหนี บ เข้ า กั บ แท่ น รองรั บ งาน หรื อ ย้ า ยไปยั ง สถานที ่ อ ื ่ น
และหนี บ ใหม่ ไ ด้
2. เมื ่ อ ยึ ด แท่ น ตั ด เข้ า กั บ แผ่ น ไม้ อ ั ด ตรวจสอบให้ แ น่ ใ จว่ า สกรู ท ี ่ ใ ช้ ย ึ ด ไม่ ไ ด้ ย ื ่ น
ออกมาจากด้ า นล่ า งของไม้ ไม้ อ ั ด ต้ อ งราบติ ด กั บ แท่ น รองรั บ งาน เมื ่ อ หนี บ
เลื ่ อ ยเข้ า กั บ พื ้ น ผิ ว การท� า งานใดๆ ให้ ห นี บ เฉพาะบนส่ ว นที ่ ย ื ่ น ออกมา
ส� า หรั บ หนี บ ซึ ่ ง เป็ น ต� า แหน่ ง ของรู ส กรู ย ึ ด เท่ า นั ้ น การหนี บ ที ่ จ ุ ด อื ่ น ใดอาจ
ท� า ให้ เ ลื ่ อ ยท� า งานไม่ ถ ู ก ต้ อ งได้
3. เพื ่ อ ป้ อ งกั น การติ ด ขั ด และไม่ เ ที ่ ย งตรง ต้ อ งตรวจสอบให้ แ น่ ใ จว่ า พื ้ น ผิ ว ที ่
ติ ด ตั ้ ง เรี ย บสม� ่ า เสมอไม่ ข รุ ข ระ ถ้ า เลื ่ อ ยสามารถโยกไปมาบนพื ้ น ผิ ว ได้ ให้
วางวั ส ดุ ช ิ ้ น บางๆ ไว้ ใ ต้ ข าเลื ่ อ ยข้ า งหนึ ่ ง จนกระทั ่ ง เลื ่ อ ยยึ ด กั บ พื ้ น ผิ ว อย่ า ง
มั ่ น คง
การติดต ั ้ งใบเลื ่ อ ย (รู ป 9, 10, 11, 12)
ค� า เตื อ น: เพื ่ อ ลดความเส ี ่ ย งจากการบาดเจ็ บ ให้ ป ิ ดเครื ่ อ ง
มื อ และถอดปล ั ๊ ก เครื ่ อ งมื อ ออกจากแหล่ ง จ่ า ยไฟก่ อ นการ
ประกอบและถอดอุ ป กรณ์ เ สริ ม ก่ อ นการปร ับแต่ ง หรื อ
เปลี ่ ย นการต ั ้ งค่ า หรื อ เมื ่ อ ท� า การซ ่ อ มแซม สวิ ต ช์ ต ้ อ งอยู ่ ใ น
ต� า แหน่ ง "ปิ ด " การเผลอเปิ ด เครื ่ อ งโดยไม่ ไ ด้ ต ั ้ ง ใจอาจเป็ น สาเหตุ
ให้ เ กิ ด การบาดเจ็ บ ได้
• อย่ า กดปุ ่ ม ล็ อ คแกนหมุ น ขณะที ่ ใ บเลื ่ อ ยยั ง คงมี พ ลั ง งานหรื อ ก� า ลั ง
หมุ น อยู ่
• ห้ า มตั ด โลหะผสมและโลหะประเภทเหล็ ก (ทั ้ ง เหล็ ก หล่ อ หรื อ
เหล็ ก กล้ า ) หรื อ ปู น หรื อ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ไ ฟเบอร์ ซ ี เ มนต์ ด ้ ว ยแท่ น ตั ด
องศา
• กดก้ า นปล่ อ ยตั ว ล็ อ คส่ ว นหั ว (cc) (หากมี ใ ห้ ม า) เพื ่ อ คลายตั ว
ครอบป้ อ งกั น ด้ า นล่ า ง (b) จากนั ้ น ยกตั ว ครอบป้ อ งกั น ด้ า นล่ า งขึ ้ น
จนสุ ด
WALT
e
• ควรใช้ ใ บเลื ่ อ ยที ่ เ หมาะสมในการตั ด วั ส ดุ ท ี ่ ต ่ า งกั น
1. ดั น ตั ว ครอบป้ อ งกั น ขึ ้ น แล้ ว ให้ ค ลายสกรู ย ึ ด แผ่ น ครอบใบเลื ่ อ ย (kk)
จนกว่ า แผ่ น ฝาครอบใบเลื ่ อ ย (ll) จะยกตั ว ขึ ้ น เพี ย งพอที ่ จ ะเข้ า ถึ ง สกรู ย ึ ด ใบ
เลื ่ อ ย (nn) ด้ า นใน
2. กดปุ ่ ม ล็ อ คแกนหมุ น (x) ด้ ว ยมื อ ข้ า งหนึ ่ ง และอี ก ข้ า งหนึ ่ ง ให้ ใ ช้ ป ระแจ (i)
ที ่ ใ ห้ ม าเพื ่ อ คลายสกรู ย ึ ด ใบเลื ่ อ ยแบบมี เ กลี ย ว (nn) ด้ า นซ้ า ยมื อ โดยหมุ น
ตามเข็ ม นาฬิ ก า
ค� า เตื อ น: ในการใช้ ต ั ว ล็ อ คแกนหมุ น กดปุ ่ ม ตามที ่ แ สดงและหมุ น
แกนด้ ว ยมื อ จนกระทั ่ ง คุ ณ รู ้ ส ึ ก ได้ ว ่ า ตั ว ล็ อ คเข้ า ที ่
กดปุ ่ ม ล็ อ คค้ า งไว้ เ พื ่ อ ให้ ส ามารถหมุ น แกนหมุ น ได้
3. ถอดสกรู ล ็ อ คใบเลื ่ อ ย (nn) และแหวนยึ ด ด้ า นนอก (pp)
4. ติ ด ตั ้ ง ใบเลื ่ อ ย (oo) ลงบนหั ว ต่ อ ใบเลื ่ อ ยที ่ อ ยู ่ ต ิ ด กั บ แหวนยึ ด ด้ า นใน (rr)
ตรวจสอบให้ แ น่ ใ จว่ า ฟั น เลื ่ อ ยที ่ ข อบล่ า งของใบเลื ่ อ ยชี ้ ไ ปทางด้ า นหลั ง ของ
ตั ว เครื ่ อ ง (ออกนอกตั ว ผู ้ ป ฏิ บ ั ต ิ ง าน)
5. ใส่ แ หวนยึ ด ด้ า นนอก (pp)
6. ขั น สกรู ล ็ อ คใบเลื ่ อ ย (nn) ให้ แ น่ น อย่ า งระมั ด ระวั ง ด้ ว ยการหมุ น ทวนเข็ ม
นาฬิ ก าในขณะที ่ ก ดตั ว ล็ อ คแกนหมุ น ค้ า งไว้ ด ้ ว ยมื อ อี ก ข้ า งหนึ ่ ง
7. ขั น แผ่ น ฝาครอบใบเลื ่ อ ย (ll) กลั บ สู ่ ต � า แหน่ ง เดิ ม โดยขั น สกรู ย ึ ด แผ่ น
ครอบใบเลื ่ อ ย (kk) ให้ แ น่ น เพื ่ อ ยึ ด แผ่ น ครอบใบเลื ่ อ ยให้ เ ข้ า ที ่
ค� า เตื อ น! ต้ อ งใส่ ใ บเลื ่ อ ยตามวิ ธ ี ท ี ่ ไ ด้ อ ธิ บ ายไว้ เ ท่ า นั ้ น ต้ อ งใช้ ใ บ
เลื ่ อ ยตามที ่ ร ะบุ ไ ว้ ใ นข้ อ มู ล ทางเทคนิ ค
ค� า เตื อ น! แผ่ น ฝาครอบใบเลื ่ อ ย (ll) ต้ อ งกลั บ ไปอยู ่ ใ นต� า แหน่ ง
เดิ ม และจะต้ อ งขั น สกรู ย ึ ด แผ่ น ครอบใบเลื ่ อ ย (kk) ให้ แ น่ น ก่ อ นใช้
การงานเครื ่ อ ง
ค� า เตื อ น! การไม่ ป ฏิ บ ั ต ิ อ าจท� า ให้ ต ั ว ครอบป้ อ งกั น สั ม ผั ส กั บ ใบ
เลื ่ อ ยที ่ ห มุ น อยู ่ ท � า ให้ เ กิ ด ความเสี ย หายกั บ ใบเลื ่ อ ยและการบาดเจ็ บ
ส่ ว นบุ ค คลที ่ ร ้ า ยแรง
การปร ับต ั ้ ง
ค� า เตื อ น: เพื ่ อ ลดความเส ี ่ ย งจากการบาดเจ็ บ ให้ ป ิ ดเครื ่ อ ง
มื อ และถอดปล ั ๊ ก เครื ่ อ งมื อ ออกจากแหล่ ง จ่ า ยไฟก่ อ นการ
ประกอบและถอดอุ ป กรณ์ เ สริ ม ก่ อ นการปร ับแต่ ง หรื อ เปลี ่ ย น
ชุ ด ติดต ั ้ ง หรื อ ขณะท� า การซ ่ อ มแซม สวิ ต ช์ ต ้ อ งอยู ่ ใ นต� า แหน่ ง
"ปิ ด " การเผลอเปิ ด เครื ่ อ งโดยไม่ ไ ด้ ต ั ้ ง ใจอาจท� า ให้ เ กิ ด การบาด
เจ็ บ ได้
แท่ น ตั ด องศาได้ ร ั บ การปรั บ ตั ้ ง อย่ า งถู ก ต้ อ งแล้ ว จากโรงงาน ถ้ า ต้ อ งท� า การปรั บ
ตั ้ ง ใหม่ เ นื ่ อ งจากการขนส่ ง และการจั ด การหรื อ ด้ ว ยเหตุ ผ ลอื ่ น ใด ให้ ท � า ตามขั ้ น
ตอนด้ า นล่ า งเพื ่ อ ปรั บ เลื ่ อ ยของคุ ณ เมื ่ อ ด� า เนิ น การแล้ ว การปรั บ ตั ้ ง จะต้ อ งยั ง คง
มี ค วามถู ก ต้ อ ง
การตรวจสอบและการปร ับสเกลแท่ น ปร ับองศา (รู ป 13, 14, 15)
1. คลายมื อ จั บ ล็ อ คองศา (e) แล้ ว กดก้ า นล็ อ คองศา (t) เพื ่ อ คลายแขนแท่ น
ตั ด องศา แล้ ว เลื ่ อ นแขนแท่ น องศาจนกระทั ่ ง สลั ก อยู ่ ใ นต� า แหน่ ง 0 องศา
ห้ า มล็ อ คมื อ จั บ ล็ อ คองศา (e)
2. ดึ ง ส่ ว นหั ว ลงมาจนใบเลื ่ อ ยแตะกั บ ร่ อ งตั ด ใบเลื ่ อ ย (s)
3. วางไม้ ฉ าก (tt) แนบกั บ แผงกั ้ น ด้ า นซ้ า ย (v) และใบเลื ่ อ ย (oo) (รู ป 13)
ค� า เตื อ น: อย่ า ให้ ไ ม้ ฉ ากแตะกั บ ปลายของฟั น ใบเลื ่ อ ย
หากจ� า เป ็ นต้ อ งท� า การปร ับ ให้ ท � า ด ังนี ้
4. คลายมื อ จั บ ล็ อ คองศา (e) แล้ ว กดก้ า นล็ อ คองศา (t) เพื ่ อ คลายแขนแท่ น
ตั ด องศา เลื ่ อ นแขนแท่ น องศาให้ ต ั ว ชี ้ ไ ปที ่ 0° บนสเกลแท่ น ปรั บ องศา
จากนั ้ น หมุ น มื อ จั บ ล็ อ คองศา (e) ให้ แ น่ น
5. คลายลู ก บิ ด พลาสติ ก (k) แล้ ว ใช้ ป ระแจ (i) คลายสกรู ต ั ว หยุ ด แผงกั ้ น (jj)
น� า แผงกั ้ น ด้ า นซ้ า ย (v) ออก
6. ลดหั ว เลื ่ อ ยลงแล้ ว ล็ อ คไว้ ใ นต� า แหน่ ง ต� ่ า สุ ด โดยการดั น เข้ า ไปในสลั ก ล็ อ ค
หั ว เลื ่ อ ย เปลี ่ ย นแผงกั ้ น ด้ า นซ้ า ย แล้ ว วางไม้ ฉ ากแนบกั บ แผงกั ้ น ด้ า นซ้ า ย
และใบเลื ่ อ ย เมื ่ อ วางไม้ ฉ ากแนบกั บ แผงกั ้ น ด้ า นซ้ า ยแล้ ว ให้ ใ ช้ ป ระแจ (i)
ขั น โบลต์ ห กเหลี ่ ย มบนแผงกั ้ น ให้ แ น่ น ตามล� า ดั บ จากด้ า นขวา
การตรวจสอบและการปร ับต ั ้ งใบเลื ่ อ ยก ับแท่ น (รู ป 16–21)
1. คลายลู ก บิ ด ตั ว หนี บ ส� า หรั บ ตั ด เอี ย ง (p)
ภาษาไทย
59

Advertisement

loading