Stanley SCD2 Manual page 54

Table of Contents

Advertisement

Available languages
  • EN

Available languages

  • ENGLISH, page 1
ภาษาไทย
อ่ า นค� า แนะน� า ทั ้ ง หมด
• ห้ า มชาร์ จ หรื อ ใช้ แ บตเตอรี ่ ใ นบริ เ วณที ่ อ าจเกิ ด
การระเบิ ด เช่ น ในบริ เ วณที ่ ม ี ข องเหลว แก๊ ส
หรื อ ฝุ ่ น ละอองที ่ ม ี ค ุ ณ สมบั ต ิ ไ วไฟ การใส่ แ ละถอด
แบตเตอรี ่ อ อกจากเครื ่ อ งชาร์ จ อาจเป็ น การจุ ด ระเบิ ด
ฝุ ่ น หรื อ ไอระเหยดั ง กล่ า วได้
• ห้ า มฝื น ใส่ แ บตเตอรี ่ ล งในเครื ่ อ งชาร์ จ ห้ า ม
ดั ด แปลงก้ อ นแบตเตอรี ่ ด ้ ว ยวิ ธ ี ก ารใดๆ เพื ่ อ ให้
สามารถใส่ ล งในเครื ่ อ งชาร์ จ ที ่ ไ ม่ ร องรั บ
แบตเตอรี ่ น ั ้ น เนื ่ อ งจากก้ อ นแบตเตอรี ่ อ าจระเบิ ด
ขึ ้ น เป็ น เหตุ ใ ห้ บ าดเจ็ บ สาหั ส ได้
• ชาร์ จ แบตเตอรี ่ ใ นเครื ่ อ งชาร์ จ ของ STANLEY เท่ า นั ้ น
• ห้ า ม สาดหรื อ จุ ่ ม ลงในนำ ้ า หรื อ ของเหลวใดๆ โดยเด็ ด
ขาด
• ห้ า มเก็ บ หรื อ ใช้ ง านเครื ่ อ งมื อ และแบตเตอรี ่ ใ น
สถานที ่ ซ ึ ่ ง อุ ณ หภู ม ิ อ าจสู ง ถึ ง หรื อ สู ง เกิ น กว่ า
40˚ C (105° F) (เช่ น ในโรงเรื อ นกลางแจ้ ง
หรื อ อาคารที ่ ม ี โ ครงสร้ า งเป็ น โลหะในช่ ว งฤดู
ร้ อ น)
ค� า เตื อ น: ห้ า มพยายามแกะตั ว แบตเตอรี ่
ในทุ ก กรณี หากตั ว ก้ อ นแบตเตอรี ่ ม ี ร อยแตก
หรื อ เสี ย หาย ห้ า มนำ า ใส่ เ ข้ า ไปในเครื ่ อ งชาร์ จ
โดยเด็ ด ขาด ห้ า มทุ บ ทำ า ตก หรื อ ทำ า ให้ ก ้ อ น
แบตเตอรี ่ ช ำ า รุ ด เสี ย หาย ห้ า มใช้ ง านก้ อ น
แบตเตอรี ่ แ ละเครื ่ อ งชาร์ จ ที ่ ถ ู ก กระแทกอย่ า ง
รุ น แรง เคยตก ถู ก ทั บ หรื อ ได้ ร ั บ ความเสี ย
หายในรู ป แบบใดๆ (กล่ า วคื อ ถู ก ตะปู ต อก
ทะลุ ถู ก ค้ อ นทุ บ ถู ก เหยี ย บจนชำ า รุ ด ) อาจส่ ง
ผลให้ ถ ู ก ไฟฟ้ า ช็ อ ต หรื อ ได้ ร ั บ อั น ตรายจาก
ไฟฟ้ า จนถึ ง แก่ ช ี ว ิ ต ควรส่ ง แบตเตอรี ่ ท ี ่ เ สี ย
หายคื น ให้ ศ ู น ย์ บ ริ ก ารเพื ่ อ นำ า ไปรี ไ ซเคิ ล
ข้ อ ควรระวั ง : เมื ่ อ ไม่ ใ ช้ ง าน ให้ ว างเครื ่ อ ง
มื อ ตะแคงไว้ บ นพื ้ น ผิ ว ที ่ ม ั ่ น คงที ่ จ ะไม่
ท� า ให้ เ กิ ด อั น ตรายจากการสะดุ ด หรื อ ร่ ว ง
หล่ น อุ ป กรณ์ บ างอย่ า งที ่ ม ี แ บตเตอรี ่ ก ้ อ น
ใหญ่ อ าจจะสามารถวางตั ้ ง บนแบตเตอรี ่ ไ ด้
แต่ ก ็ อ าจถู ก ชนล้ ม ได้ ง ่ า ยเช่ น กั น
ค� า แนะน� า เพื ่ อ ความปลอดภั ย เฉพาะส� า หรั บ แบตเตอรี ่
ลิ เ ธี ย มไอออน (Li-Ion)
• ห้ า มเผาแบตเตอรี ่ แ ม้ ว ่ า แบตเตอรี ่ น ั ้ น จะได้ ร ั บ
ความเสี ย หายอย่ า งร้ า ยแรงหรื อ ใช้ ง านจนหมด
แล้ ว ก็ ต าม แบตเตอรี ่ ส ามารถระเบิ ด ได้ ใ นเปลวไฟ
ไอและสารพิ ษ จะเกิ ด ขึ ้ น เมื ่ อ แบตเตอรี ่ ล ิ เ ธี ย มไอออน
ถู ก เผา
• หากสารภายในแบตเตอรี ่ ส ั ม ผั ส ถู ก ผิ ว หนั ง ให้ ร ี บ
ล้ า งออกด้ ว ยสบู ่ อ ่ อ นและน้ � า ทั น ที หากของเหลว
ภายในแบตเตอรี ่ เ ข้ า ตา ให้ ล ื ม ตาในน้ ำ า ไหลเป็ น เวลา
15 นาที ห รื อ จนไม่ ร ู ้ ส ึ ก ระคายเคื อ งอี ก หากจำ า เป็ น
ต้ อ งไปพบแพทย์ สารอิ เ ล็ ก โทรไลต์ ข องแบตเตอรี ่
เป็ น ส่ ว นผสมของสารละลายคาร์ บ อเนตอิ น ทรี ย ์ แ ละ
เกลื อ ลิ เ ธี ย ม
• สารภายในแบตเตอรี ่ ท ี ่ ถ ู ก เปิ ด ออกอาจท� า ให้
54
ระบบหายใจระคายเคื อ งได้ ให้ ร ี บ ไปยั ง สถานที ่ ท ี ่ ม ี
อากาศถ่ า ยเท หากอาการผิ ด ปกติ ไ ม่ ห ายไป ให้ ร ี บ พบ
แพทย์
ค� า เตื อ น: อั น ตรายจากไฟไหม้ ของเหลวใน
แบตเตอรี ่ อ าจติ ด ไฟได้ ห ากถู ก ประกายไฟหรื อ
เปลวไฟ
การขนส่ ง
แบตเตอรี ่ ข อง STANLEYปฏิ บ ั ต ิ ต ามข ้อกำ า หนดในการขน
ส ่ ง ที ่ บ ั ง คั บ ใช ้ตามที ่ บ ั ญ ญั ต ิ เ ป ็ น มาตรฐานของกฎหมาย
และอุ ต สาหกรรมทุ ก ประการ ซึ ่ ง ประกอบด ้ ว ย ข ้อแนะนำ า
ในการขนส ่ ง สิ น ค ้ า อั น ตรายขององค์ ก ารสหประชาชาติ
(UN Recommendations on the Transport of
Dangerous Goods) ระเบี ย บข ้อบั ง คั บ ของสมาคมขนส ่ ง
ทางอากาศระหว่ า งประเทศ (IATA) ข ้อกำ า หนดว่ า ด ้ ว ยการ
ขนส ่ ง สิ น ค ้ า อั น ตรายทางทะเลระหว่ า งประเทศ ของ
องค์ ก ารทางทะเลระหว่ า งประเทศ (International
Maritime Dangerous Goods – IMDG) ข ้อตกลงร ่ ว ม
กั บ การขนส ่ ง สิ น ค ้ า อั น ตรายผ่ า นแดนทางถนนของกลุ ่ ม
ประชาคมเศรษฐกิ จ ยุ โ รป (European Agreement
Concerning the International Carriage of
Dangerous Goods by Road – ADR) เซลล์ แ ละ
แบตเตอรี ่ ล ิ เ ธี ย มไอออนได ้รั บ การทดสอบตามเกณฑ์ แ ละ
การทดสอบมาตรา 38.3 ของข ้อแนะนำ า ในการขนส ่ ง
สิ น ค ้ า อั น ตรายขององค์ ก ารสหประชาชาติ แ ล ้ ว
โดยส ่ ว นใหญ่ แ ล ้ ว การขนส ่ ง แบตเตอรี ่ ข อง STANLEY จะ
ได ้รั บ ยกเว ้ น ในการจั ด ประเภทเป ็ น วั ต ถุ อ ั น ตรายตามที ่
กำ า หนดไว ้ ป ระเภทที ่ 9 ซึ ่ ง โดยทั ่ ว ไปจะมี เ พี ย งสองกรณี ท ี ่
ต ้องขนส ่ ง ตามประเภทที ่ 9 คื อ :
1. การขนส่ ง แบตเตอรี ่ ล ิ เ ธี ย มไอออนของ STANLEY ทาง
อากาศจำ า นวนมากกว่ า สองก้ อ นเมื ่ อ มี ก ารบรรจุ เ ฉพาะ
แบตเตอรี ่ (ไม่ ม ี เ ครื ่ อ งมื อ ) และ
2. การขนส่ ง ที ่ บ รรจุ แ บตเตอรี ่ ล ิ เ ธี ย มไออนที ่ ม ี อ ั ต รา
พลั ง งานไฟฟ้ า มากกว่ า 100 วั ต ต์ - ชั ่ ว โมง (Wh) โดย
ต้ อ งมี ก ารทำ า เครื ่ อ งหมายแสดงอั ต ราวั ต ต์ - ชั ่ ว โมงไว้ ท ี ่
หี บ ห่ อ ของแบตเตอรี ่ ล ิ เ ธี ย มไออนทั ้ ง หมด
ทั ้ ง นี ้ ไ ม่ ค ำ า นึ ง ว่ า การขนส ่ ง จะได ้รั บ ยกเว ้ น หรื อ ต ้องปฏิ บ ั ต ิ
ตามอย่ า งครบถ ้ ว น เป ็ น ความรั บ ผิ ด ชอบของผู ้ขนส ่ ง ที ่ จ ะ
ต ้องค ้ น หาข ้อมู ล เกี ่ ย วกั บ ข ้อบั ง คั บ ด ้ า นบรรจุ ภ ั ณ ฑ์ ล ่ า สุ ด
ข ้อกำ า หนดเรื ่ อ งการแสดงฉลาก/เครื ่ อ งหมายและการจั ด
เตรี ย มเอกสาร
การขนส ่ ง แบตเตอรี ่ อ าจทำ า ให ้เกิ ด ไฟไหม ้ ไ ด ้ ถ ้ า ขั ้ ว ของ
แบตเตอรี ่ ส ั ม ผั ส กั บ วั ต ถุ ท ี ่ น ำ า ไฟฟ ้า เมื ่ อ ทำ า การขนส ่ ง
แบตเตอรี ่ ต ้องแน่ ใ จว่ า ขั ้ ว แบตเตอรี ่ ไ ด ้รั บ การป ้องกั น และ
ได ้รั บ การหุ ้ ม ฉนวนอย่ า งดี เ พื ่ อ ไม่ ใ ห ้ ม ี ว ั ต ถุ ใ ดๆ มาสั ม ผั ส
ถู ก และทำ า ให ้เกิ ด การลั ด วงจรได ้

Advertisement

Table of Contents
loading

Table of Contents