Sharp AH-X10 Series Operation Manual page 14

Split type room air conditioner
Table of Contents

Advertisement

Available languages

Available languages

ภาษาไทย
สารบั ญ
• ข้ อ ควรระวั ง ด้ า นความปลอดภั ย ............................................................TH-1
• ส่ ว นประกอบเครื ่ อ งปรั บ อากาศ ............................................................TH-2
• ส่ ว นประกอบรี โ มทคอนโทรล ................................................................TH-3
• การใช้ ง านรี โ มทคอนโทรล ....................................................................TH-4
• โหมดการท� า งานฉุ ก เฉิ น ........................................................................TH-4
• ข้ อ แนะน� า เพื ่ อ การประหยั ด พลั ง งาน ....................................................TH-4
• การใช้ ง านพื ้ น ฐาน .................................................................................TH-5
• เงื ่ อ นไขในการท� า งาน ............................................................................TH-5
• การปรั บ ทิ ศ ทางการกระจายลม .............................................................TH-6
• การท� า งานด้ ว ยการท� า ความเย็ น อย่ า งรวดเร็ ว (SUPER JET) ......................TH-6
• การท� า งานด้ ว ยโหมดส� า หรั บ เด็ ก อ่ อ น (BABY) .....................................TH-7
• โหมดประหยั ด พลั ง งาน(ECO) ..............................................................TH-7
• การตั ้ ง เวลา (TIMER) ...........................................................................TH-8
• การท� า งานที ่ ช ่ ว ยให้ น อนหลั บ ได้ ด ี ท ี ่ ส ุ ด (BEST SLEEP) ......................TH-9
• การบ� า รุ ง รั ก ษา ......................................................................................TH-9
• ค� า แนะน� า ก่ อ นติ ด ต่ อ ศู น ย์ บ ริ ก าร ........................................................TH-10
• ค� า แนะน� า ก่ อ นติ ด ต่ อ ศู น ย์ บ ริ ก าร (เมื ่ อ พบรหั ส แสดงข้ อ ผิ ด พลาด) ....TH-11
ข้ อ ควรระวั ง ด้ า นความปลอดภั ย
ค� า เตื อ น
• ห้ า มดึ ง หั ก หรื อ งอสายไฟของเครื ่ อ งปรั บ อากาศ จะมี ผ ล
ท� า ให้ เ ครื ่ อ งปรั บ อากาศเสี ย หายได้ ห รื อ อาจจะเป็ น สาเหตุ
การเกิ ด ไฟฟ้ า ลั ด วงจรได้
• ไม่ ค วรให้ ร ่ า งกายสั ม ผั ส กั บ ลมเย็ น ที ่ อ อกจากเครื ่ อ งโดยตรง
เป็ น เวลานาน อาจจะมี ผ ลกั บ สุ ข ภาพได้
• หากใช้ ง านเครื ่ อ งปรั บ อากาศกั บ เด็ ก อ่ อ น ผู ้ เ ยาว์ ผู ้ ส ู ง อายุ
ผู ้ ป ่ ว ยที ่ ไ ม่ ส ามารถพึ ่ ง พาตนเองได้ หรื อ ผู ้ ท ุ พ พลภาพ ควร
ตรวจสอบให้ แ น่ ใ จว่ า อุ ณ หภู ม ิ ข องห้ อ งเหมาะสมต่ อ บุ ค คล
ดั ง กล่ า วซึ ่ ง พั ก อยู ่ ภ ายในห้ อ ง
• ห้ า มน� า วั ต ถุ ใ ดๆ สอดเข้ า ไปในเครื ่ อ งโดยเด็ ด ขาด อาจส่ ง
ผลให้ เ กิ ด การบาดเจ็ บ ได้ อ ั น เนื ่ อ งมาจากการหมุ น รอบของ
พั ด ลมภายในซึ ่ ง มี ค วามเร็ ว สู ง
• ต่ อ สายดิ น เครื ่ อ งปรั บ อากาศให้ ถ ู ก ต้ อ ง ห้ า มเชื ่ อ มต่ อ
สายดิ น เข้ า กั บ ท่ อ แก๊ ส ท่ อ ประปา สายล่ อ ฟ้ า หรื อ สายดิ น
ของโทรศั พ ท์ การต่ อ สายดิ น ที ่ ไ ม่ ส มบู ร ณ์ อ าจท� า ให้ ถ ู ก ไฟฟ้ า
ดู ด ได้
• หากเครื ่ อ งปรั บ อากาศมี ส ิ ่ ง ผิ ด ปกติ เ กิ ด ขึ ้ น (เช่ น กลิ ่ น เหม็ น
ไหม้ ) ควรหยุ ด ใช้ ง านโดยทั น ที แ ล้ ว ปิ ด เบรกเกอร์
• ต้ อ งติ ด ตั ้ ง เครื ่ อ งปรั บ อากาศตามข้ อ บั ง คั บ การเดิ น สายไฟ
ของแต่ ล ะประเทศ การเชื ่ อ มต่ อ สายไฟที ่ ไ ม่ เ หมาะสม อาจ
ท� า ให้ แ หล่ ง จ่ า ยไฟ ปลั ๊ ก และเต้ า รั บ เกิ ด ความร้ อ นสู ง และ
เป็ น สาเหตุ ข องเพลิ ง ไหม้
• หากสายไฟช� า รุ ด ควรให้ ผ ู ้ ผ ลิ ต ตั ว แทนบริ ก าร หรื อ ช่ า งที ่
ช� า นาญ ท� า การเปลี ่ ย นสายไฟ เพื ่ อ หลี ก เลี ่ ย งอั น ตรายที ่ อ าจ
เกิ ด ขึ ้ น ใช้ เ ฉพาะสายไฟที ่ ผ ู ้ ผ ลิ ต ก� า หนดไว้ ใ นการเปลี ่ ย น
สายไฟเท่ า นั ้ น
• ห้ า มสาดน� ้ า หรื อ ฉี ด น� ้ า เข้ า ไปยั ง ตั ว เครื ่ อ งโดยตรง จะท� า ให้
เกิ ด ไฟฟ้ า ลั ด วงจรหรื อ เกิ ด ความเสี ย หายกั บ อุ ป กรณ์ ไ ด้
B129_EN.indd 1
กรุ ณ าศึ ก ษาการคู ่ ม ื อ ใช้ ง านผลิ ต ภั ณ ฑ์ โ ดยละเอี ย ดก่ อ นเริ ่ ม ใช้ ง าน และ
โปรดเก็ บ คู ่ ม ื อ ฉบั บ นี ้ ไ ว้ ใ นที ่ ส ะดวกและปลอดภั ย
• ห้ า มท� า การติ ด ตั ้ ง เคลื ่ อ นย้ า ย หรื อ ซ่ อ มบ� า รุ ง ตั ว เครื ่ อ งปรั บ
อากาศด้ ว ยตั ว เอง การกระท� า ที ่ ผ ิ ด วิ ธ ี อ าจเป็ น สาเหตุ ให้
เกิ ด ไฟฟ้ า ลั ด วงจร น� ้ า รั ่ ว หรื อ เกิ ด ไฟไหม้ ไ ด้ ควรปรึ ก ษา
ตั ว แทนจ� า หน่ า ยหรื อ ศู น ย์ บ ริ ก ารชาร์ ป เมื ่ อ ต้ อ งการติ ด ตั ้ ง
เคลื ่ อ นย้ า ย หรื อ ซ่ อ มบ� า รุ ง
ข้ อ ควรระวั ง
• เปิ ด หน้ า ต่ า งหรื อ ประตู เ ป็ น ครั ้ ง คราวเพื ่ อ ถ่ า ยเทอากาศ
ภายในห้ อ ง โดยเฉพาะเมื ่ อ ใช้ อ ุ ป กรณ์ ไ ฟฟ้ า ที ่ ท � า งานด้ ว ย
แก๊ ส การหมุ น เวี ย นอากาศที ่ ไ ม่ ด ี อ าจท� า ให้ ข าดออกซิ เ จนได้
• ห้ า มกดปุ ่ ม ใดๆขณะที ่ ม ื อ เปี ย กอาจถู ก ไฟฟ้ า ดู ด ได้
• เพื ่ อ ความปลอดภั ย ควรปิ ด Breaker ทุ ก ครั ้ ง เมื ่ อ ไม่ ใ ช้
เครื ่ อ งปรั บ อากาศเป็ น เวลานาน
• ตรวจสอบตั ว เครื ่ อ งปรั บ อากาศภายนอกอาคารว่ า ติ ด ตั ้ ง อยู ่
ใน สถานที ่ ท ี ่ เ หมาะสมและมั ่ น คงแล้ ว
• ห้ า มวางสิ ่ ง ของใดๆ ไว้ บ นเครื ่ อ งภายนอกอาคารหรื อ ขึ ้ น ไป
เหยี ย บบนเครื ่ อ ง วั ต ถุ ท ี ่ น � า ไปวางหรื อ ผู ้ ท ี ่ ข ึ ้ น ไปเหยี ย บบน
เครื ่ อ งอาจลื ่ น ล้ ม และพลั ด ตกลงมา ท� า ให้ บ าดเจ็ บ ได้
• เครื ่ อ งปรั บ อากาศนี ้ อ อกแบบมาเพื ่ อ ใช้ ง านภายในที ่ พ ั ก
อาศั ย เท่ า นั ้ น ไม่ เ หมาะส� า หรั บ ใช้ ใ นสถานที ่ อ ื ่ น ๆ เช่ น ใช้ ใ น
คอกสั ต ว์ ห รื อ เรื อ นเพาะช� า
• ห้ า มวางแจกั น ที ่ ม ี น � ้ า บนตั ว เครื ่ อ ง ถ้ า น� ้ า หกใส่ ต ั ว เครื ่ อ งจะ
ท� า ให้ ค วามต้ า นทานทางไฟฟ้ า เสื ่ อ มลงและอาจมี ผ ลท� า ให้
เกิ ด ไฟฟ้ า ลั ด วงจรได้
• ห้ า มปิ ด กั ้ น ทางเข้ า ออกของลมที ่ ต ั ว เครื ่ อ งปรั บ อากาศ จะ
ท� า ให้ เ ครื ่ อ งท� า งานไม่ เ ต็ ม ประสิ ท ธิ ภ าพ
• ต้ อ งปิ ด เครี ่ อ งปรั บ อากาศ และปิ ด Breaker ทุ ก ครั ้ ง ก่ อ น
การซ่ อ มบ� า รุ ง หรื อ ท� า ความสะอาดเครื ่ อ ง การซ่ อ มบ� า รุ ง
หรื อ การท� า ความสะอาดในขณะพั ด ลมท� า งานอยู ่ อ าจท� า ให้
เกิ ด การบาดเจ็ บ ได้
• เครื ่ อ งปรั บ อากาศนี ้ ไ ม่ ค วรใช้ ง านโดยบุ ค คลที ่ ม ี ล ั ก ษณะ
ทุ พ พลภาพ, ผู ้ ม ี ป ั ญ หาทางด้ า นจิ ต ใจหรื อ ประสาทสั ม ผั ส
หรื อ ผู ้ ท ี ่ ข าดประสบการณ์ แ ละความรู ้ (รวมถึ ง เด็ ก ๆ) เว้ น
เสี ย แต่ ว ่ า จะได้ ร ั บ การดู แ ลหรื อ ได้ ร ั บ ค� า แนะน� า ในการใช้ ง าน
เครื ่ อ งปรั บ อากาศจากผู ้ ท ี ่ ร ั บ ผิ ด ชอบดู แ ลเรื ่ อ งความ
ปลอดภั ย ของบุ ค คลเหล่ า นี ้ เด็ ก ๆ ควรได้ ร ั บ การดู แ ลเพื ่ อ ให้
มั ่ น ใจว่ า เด็ ก จะไม่ เ ล่ น เครื ่ อ งปรั บ อากาศนี ้
• ตรวจสอบให้ แ น่ ใ จว่ า ได้ เ ชื ่ อ มต่ อ เครื ่ อ งปรั บ อากาศเข้ า กั บ
แหล่ ง จ่ า ยไฟที ่ ม ี แ รงดั น ไฟฟ้ า และความถี ่ ต ามที ่ ก � า หนด การ
ใช้ แ หล่ ง จ่ า ยไฟที ่ ม ี แ รงดั น ไฟฟ้ า และความถี ่ ท ี ่ ไ ม่ เ หมาะสม
อาจท� า ให้ อ ุ ป กรณ์ ช � า รุ ด และอาจเกิ ด ไฟไหม้ ไ ด้
• ห้ า มติ ด ตั ้ ง เครื ่ อ งในสถานที ่ ซ ึ ่ ง อาจมี ก ๊ า ซไวไฟรั ่ ว ไหล
เนื ่ อ งจากก๊ า ซดั ง กล่ า วอาจท� า ให้ เ กิ ด ไฟไหม้
การติ ด ตั ้ ง เครื ่ อ งในสถานที ่ ซ ึ ่ ง มี ฝ ุ ่ น ละออง ควั น และ
ความชื ้ น ในอากาศน้ อ ย
• จั ด วางท่ อ น� ้ า ทิ ้ ง ให้ ส ามารถระบายน� ้ า ได้ โ ดยสะดวก การ
ระบายน� ้ า ที ่ ไ ม่ ก ็ พ อจะท� า ให้ เ กิ ด น� ้ า รั ่ ว ได้ ท � า ให้ ห ้ อ งและ
เฟอร์ น ิ เ จอร์ เ ปี ย กชื ้ น ได้
• ตรวจสอบให้ แ น่ ใ จว่ า ได้ ต ิ ด ตั ้ ง เบรกเกอร์ ก ั น ไฟดู ด หรื อ
เซอร์ ก ิ ต เบรกเกอร์ เ พื ่ อ ป้ อ งกั น ไฟฟ้ า ดู ด แล้ ว ทั ้ ง นี ้ ข ึ ้ น อยู ่ ก ั บ
สถานที ่ ต ิ ด ตั ้ ง
TH-1
2021/11/10 14:27:29

Advertisement

Table of Contents
loading

Table of Contents