Tanaka TCS 33EB Handling Instructions Manual page 31

Table of Contents

Advertisement

Available languages

Available languages

ลํ า ดั บ การประกอบ
คํ า เตื อ น
อย‹ า สตาร ท เครื ่ อ งยนต ห ากยั ง ไม‹ ไ ดŒ ข ั น ฝาขŒ า ง แผ‹ น บั ง คั บ โซ‹ และโซ‹
ใหŒ แ น‹ น
1. ดึ ง เบรกโซ‹ (15) เขŒ า มาทางดŒ า มจั บ ดŒ า นหนŒ า เพื ่ อ ตรวจสอบว‹ า เบรก
ของโซ‹ ไ ม‹ ไ ดŒ เ ป ด อยู ‹ (รู ป ที ่ 10)
2. ถอดนอตยึ ด กŒ า นโซ‹ เ ลื ่ อ ยออก (2) ถอดฝาขŒ า งออก (3) (รู ป ที ่ 2)
* ในกรณี ท ี ่ ต Œ อ งการติ ด ตั ้ ง กั น ชนแบบเดื อ ย (4) ใหŒ ต ิ ด ตั ้ ง กั น ชน
แบบเดื อ ย (4) (หากมี ม าใหŒ ) เขŒ า กั บ อุ ป กรณ ด Œ ว ยสกรู ส องตั ว
(รู ป ที ่ 3)
3. ติ ด ตั ้ ง กŒ า นโซ‹ เ ลื ่ อ ยเขŒ า (5) กั บ โบลต (6) แลŒ ว ดั น เขŒ า ไปหาลŒ อ ฟ˜ น เฟ„ อ ง
(7) จนสุ ด ทาง (รู ป ที ่ 4)
4. ตรวจสอบว‹ า ทิ ศ ทางของโซ‹ เ ลื ่ อ ย (10) ถู ก ตŒ อ งตามรู ป ภาพ และไปใน
แนวเดี ย วกั บ โซ‹ บ นลŒ อ ฟ˜ น เฟ„ อ ง (รู ป ที ่ 5)
5. จั ด ใหŒ ต ั ว ยึ ด สายโซ‹ เ ขŒ า กั บ ร‹ อ งไปตลอดแนวกŒ า น
6. ติ ด ตั ้ ง กล‹ อ งดŒ า นขŒ า ง (3) เขŒ า กั บ โบลต (6)
โปรดแน‹ ใ จว‹ า ดุ ม ของโบลต ป รั บ สายโซ‹ (8) พอดี ก ั บ รู (9) ของกŒ า น
(รู ป ที ่ 4)
แลŒ ว ขั น น็ อ ตยึ ด (2) ดŒ ว ยมื อ โดยใหŒ ป ลายแผ‹ น บั ง คั บ โซ‹ ย ั ง เคลื ่ อ นที ่ ข ึ ้ น
และลงไดŒ อ ย‹ า งสะดวก (รู ป ที ่ 2)
7. ยกปลายกŒ า นขึ ้ น และใส‹ โ ซ‹ ใ หŒ แ น‹ น (10) โดยหมุ น โบลต ป รั บ ความตึ ง
สายโซ‹ (11) ไปตามเข็ ม นาิ ก า หากตŒ อ งการตรวจสอบความตึ ง ที ่
เหมาะสม ใหŒ ย กตรงกลางโซ‹ ข ึ ้ น เบาๆ จนห‹ า งจากกŒ า นและขอบ (12)
ของตั ว ยึ ด สายโซ‹ ป ระมาณ 0.5-1.0 มิ ล ลิ เ มตร
(รู ป ที ่ 6, 7)
ขŒ อ ควรระวั ง
ความตึ ง ที ่ เ หมาะสมนั ้ น เปš น สิ ่ ง ที ่ ส ํ า คั ญ มาก
8. ยกปลายกŒ า นขึ ้ น และขั น น็ อ ตยึ ด กŒ า นโซ‹ เ ลื ่ อ ยใหŒ แ น‹ น ดŒ ว ยชุ ด ประแจ
บ็ อ กซ (รู ป ที ่ 7)
9. โซ‹ ใ หม‹ ๆ จะมี ค วามตึ ง สู ง ดั ง นั ้ น ใหŒ ป รั บ โซ‹ ห ลั ง การตั ด สองสามครั ้ ง และ
สั ง เกตความตึ ง โซ‹ อ ย‹ า งระมั ด ระวั ง ในช‹ ว งครึ ่ ง ชั ่ ว โมงแรกของการตั ด
หมายเหตุ
ตรวจสอบความตึ ง โซ‹ บ ‹ อ ยๆ เพื ่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพการทํ า งานที ่ เ หมาะสม
กั บ ความทนทาน
ขŒ อ ควรระวั ง
หากโซ‹ ถ ู ก ขึ ง ตึ ง เกิ น ไป กŒ า นและโซ‹ จ ะเสี ย หายในเวลาอั น สั ้ น ในทาง
ตรงกั น ขŒ า ม หากโซ‹ ห ย‹ อ นเกิ น ไป โซ‹ อ าจหลุ ด ออกจากร‹ อ งของกŒ า น
สวมถุ ง มื อ เสมอเมื ่ อ จั บ ตŒ อ งโซ‹ เ ลื ่ อ ย
คํ า เตื อ น
ในขณะปฏิ บ ั ต ิ ง านจั บ เลื ่ อ ยยนต ใ หŒ แ น‹ น ดŒ ว ยมื อ ทั ้ ง สองขŒ า ง การทํ า งาน
ดŒ ว ยมื อ ขŒ า งเดี ย วอาจก‹ อ ใหŒ เ กิ ด การบาดเจ็ บ อย‹ า งรุ น แรงไดŒ
ลํ า ดั บ การใชŒ ง าน
น้ ํ า มั น เชื ้ อ เพลิ ง (รู ป ที ่ 8)
คํ า เตื อ น
เลื ่ อ ยยนต น ี ้ ใ ชŒ เ ครื ่ อ งยนต ส องจั ง หวะ โปรดใชŒ เ ชื ้ อ เพลิ ง ที ่ ผ สมกั บ น้ ํ า มั น
เครื ่ อ งเมื ่ อ ใชŒ เ ครื ่ อ งยนต เติ ม น้ ํ า มั น ในที ่ ท ี ่ ม ี อ ากาศถ‹ า ยเทไดŒ ส ะดวก
น้ ํ า มั น มี ส ภาพไวไฟ และอาจทํ า ใหŒ บ าดเจ็ บ สาหั ส เมื ่ อ สู ด ดมหรื อ หกใส‹
ร‹ า งกายของคุ ณ ใหŒ เ อาใจใส‹ เ มื ่ อ ใชŒ น ้ ํ า มั น เสมอ ระบายอากาศใหŒ ด ี
เมื ่ อ ใชŒ น ้ ํ า มั น ในอาคาร
น้ ํ า มั น เชื ้ อ เพลิ ง
ใชŒ น ้ ํ า มั น เบนซิ น ออกเทน 89 ชนิ ด ไรŒ ส ารตะกั ่ ว
ใชŒ น ้ ํ า มั น หล‹ อ ลื ่ น เครื ่ อ งยนต 2 จั ง หวะของแทŒ หรื อ ใชŒ ส ‹ ว นผสม
25 ต‹ อ 1 ถึ ง 50 ต‹ อ 1 โปรดตรวจดู ข วดน้ ํ า มั น เพื ่ อ หาอั ต ราส‹ ว น หรื อ
ปรึ ก ษากั บ ผู Œ แ ทนจํ า หน‹ า ยของทานากะ
ถŒ า ไม‹ ม ี น ้ ํ า มั น หล‹ อ ลื ่ น ของแทŒ ใชŒ น ้ ํ า มั น แบบต‹ อ ตŒ า นออกซิ แ ดนท ที ่ ม ี
ป‡ า ยระบุ ใ หŒ ใ ชŒ ร ะบายความรŒ อ นของเครื ่ อ งยนต 2 จั ง หวะดŒ ว ยอากาศ
(JASO FC GRADE OIL หรื อ ISO EGC GRADE) อย‹ า ใชŒ น ้ ํ า มั น
ผสม BIA หรื อ TCW (ระบายความรŒ อ นของเครื ่ อ งยนต 2 จั ง หวะดŒ ว ย
น้ ํ า )
อย‹ า ใชŒ น ้ ํ า มั น หล‹ อ ลื ่ น มั ล ติ เ กรด (10 W/30) หรื อ น้ ํ า มั น ที ่ ใ ชŒ แ ลŒ ว
ผสมน้ ํ า มั น เชื ้ อ เพลิ ง กั บ น้ ํ า มั น หล‹ อ ลื ่ น ในภาชนะอื ่ น ที ่ ส ะอาดเสมอ
โปรดเริ ่ ม จากการเติ ม น้ ํ า มั น เบนซิ น ที ่ จ ะใชŒ ล งไปครึ ่ ง หนึ ่ ง แลŒ ว เติ ม น้ ํ า มั น
เครื ่ อ งลงไปใหŒ ห มด ผสม (เขย‹ า ) ส‹ ว นผสมของน้ ํ า มั น เบนซิ น แลŒ ว จิ ง เติ ม
น้ ํ า มั น เบนซิ น ที ่ เ หลื อ ลงไป
ผสม (เขย‹ า ) ส‹ ว นผสมเชื ้ อ เพลิ ง ใหŒ ท ั ่ ว ก‹ อ นที ่ จ ะเติ ม ลงถั ง น้ ํ า มั น
การเติ ม น้ ํ า มั น
คํ า เตื อ น (รู ป ที ่ 9)
ดั บ เครื ่ อ งยนต ก ‹ อ นเติ ม น้ ํ า มั น เสมอ
ค‹ อ ยๆ เป ด ถั ง น้ ํ า มั น (13) ในขณะที ่ เ ติ ม น้ ํ า มั น เพื ่ อ ป‡ อ งกั น ความดั น
ส‹ ว นเกิ น ในถั ง ที ่ อ าจมี ข ึ ้ น
เมื ่ อ เติ ม น้ ํ า มั น แลŒ ว หมุ น ฝาถั ง อย‹ า งระมั ด ระวั ง จนแน‹ น
เคลื ่ อ นยŒ า ยอุ ป กรณ ใ หŒ ห ‹ า งจากพื ้ น ที ่ เ ติ ม น้ ํ า มั น อย‹ า งนŒ อ ย 3 เมตร
ก‹ อ นการสตาร ท เครื ่ อ งยนต
ใชŒ ส บู ‹ ล Œ า งน้ ํ า มั น ที ่ ห กใส‹ เ สื ้ อ ผŒ า ทั น ที
โปรดแน‹ ใ จว‹ า ไดŒ ต รวจดู น ้ ํ า มั น รั ่ ว หลั ง จากเติ ม น้ ํ า มั น
ก‹ อ นเติ ม น้ ํ า มั น ทํ า ความสะอาดฝาถั ง ใหŒ ห มดจด เพื ่ อ ไม‹ ใ หŒ ฝ ุ † น ผงตกลง
ในถั ง โปรดแน‹ ใ จว‹ า น้ ํ า มั น ผสมกั น ดี โ ดยเขย‹ า ภาชนะใส‹ ก ‹ อ นจะเติ ม น้ ํ า มั น
น้ ํ า มั น โซ‹ (รู ป ที ่ 9)
เติ ม น้ ํ า มั น โซ‹ (14) โปรดใชŒ แ ต‹ น ้ ํ า มั น โซ‹ ค ุ ณ ภาพดี ในขณะที ่ เ ครื ่ อ งยนต
กํ า ลั ง ทํ า งาน น้ ํ า มั น โซ‹ จ ะถู ก ดึ ง ไปใชŒ ง านโดยอั ต โนมั ต ิ
หมายเหตุ
ในขณะที ่ เ ติ ม น้ ํ า มั น (13) หรื อ น้ ํ า มั น โซ‹ (14) ลงในถั ง ใหŒ ว างอุ ป กรณ
โดยใหŒ ฝ าถั ง อยู ‹ ด Œ า นบน (รู ป ที ่ 9)
การสตาร ท (รู ป ที ่ 10 - 14)
ขŒ อ ควรระวั ง
ก‹ อ นเริ ่ ม การทํ า งาน ผลั ก เบรกโซ‹ (15) ไปยั ง ตํ า แหน‹ ง ที ่ เ บรกทํ า งาน
ตรวจสอบใหŒ แ น‹ ใ จว‹ า แผ‹ น บั ง คั บ โซ/โซ‹ ไ ม‹ ไ ดŒ ส ั ม ผั ส กั บ สิ ่ ง ใดๆ (รู ป ที ่ 10)
1. ตั ้ ง สวิ ต ช ส ตาร ท (16) ไปที ่ ต ํ า แหน‹ ง ON (รู ป ที ่ 11)
2. ดึ ง คั น โชŒ ค (17) ใหŒ ส ุ ด (รู ป ที ่ 12)
*กดป˜  ม ฉี ด น้ ํ า มั น (18) หลายครั ้ ง เพื ่ อ ใหŒ น ้ ํ า มั น ไหลผ‹ า นหลอดไปจนถึ ง
คาร บ ู เ รเตอร (รู ป ที ่ 12)
ไทย
31

Hide quick links:

Advertisement

Chapters

Table of Contents
loading

Table of Contents