DeWalt DW713 Instruction Manual page 38

Hide thumbs Also See for DW713:
Table of Contents

Advertisement

Available languages

Available languages

ภาษาไทย
อ า นข อ ควรปฏิ บ ั ต ิ ท างด า นความปลอดภั ย ต อ ไปนี ้ ก  อ นที ่ จ ะเริ ่ ม ใช ง านผลิ ต ภั ณ ฑ น ี ้
และกรุ ณ าเก็ บ คู  ม ื อ เล ม นี ้ เ อาไว
กรุ ณ าเก็ บ คู  ม ื อ เล ม นี ้ ไ ว เ พื ่ อ ใช อ  า งอิ ง ในอนาคต
ข อ ปฏิ บ ั ต ิ ด  า นความปลอดภั ย ทั ่ ว ไป
รั ก ษาความสะอาดพื ้ น ที ่ ท ำงาน
1.
พื ้ น ที ่ แ ละโต ะ ปฏิ บ ั ต ิ ง านที ่ จ ั ด วางสิ ่ ง ของไม เ ป น ระเบี ย บอาจก อ ให เ กิ ด การ
บาดเจ็ บ ได
ตรวจสอบสภาพแวดล อ มของพื ้ น ที ่ ใ นการทำงาน
2.
อย า ให อ ุ ป กรณ เ ป ย กฝน อย า ใช อ ุ ป กรณ ท ี ่ อ ยู  ใ นสภาพเป ย กหรื อ ชื ้ น จั ด ให พ ื ้ น ที ่
ทำงานมี แ สงสว า งเพี ย งพอ (250 - 300 ลั ก ซ ) อย า ใช อ ุ ป กรณ ใ นที ่ ๆ มี ค วาม
เสี ่ ย งต อ การเกิ ด อั ค คี ภ ั ย หรื อ เสี ่ ย งต อ การระเบิ ด เช น พื ้ น ที ่ ๆ มี ข องเหลวหรื อ
แก ส ที ่ อ าจติ ด ไฟได
ป อ งกั น อั น ตรายจากไฟฟ า ช็ อ ต
3.
ป อ งกั น ร า งกายไม ใ ห ส ั ม ผั ส กั บ พื ้ น ผิ ว ที ่ ถ ู ก ต อ ลงดิ น (เช น ท อ เครื ่ อ งทำความ
ร อ น เตา และตู  เ ย็ น ) ในการใช ง านภายใต ส ภาพแวดล อ มที ่ ร ุ น แรง (เช น
ความชื ้ น สู ง หรื อ เมื ่ อ มี เ ศษโลหะเกิ ด ขึ ้ น เป น ต น ) ควรเพิ ่ ม ความปลอดภั ย ทาง
ไฟฟ า ได โ ดยการใส ห ม อ แปลงแยกวงจรหรื อ อุ ป กรณ ต ั ด ไฟรั ่ ว ลงดิ น เข า ไป
อย า ให บ ุ ค คลอื ่ น เข า ใกล
4.
อย า ให บ ุ ค คลอื ่ น โดยเฉพาะเด็ ก ๆ ซึ ่ ง ไม เ กี ่ ย วข อ งกั บ งานที ่ ท ำ มาสั ม ผั ส
เครื ่ อ งมื อ หรื อ สายไฟต อ พ ว ง และอย า ให บ ุ ค คลที ่ ไ ม เ กี ่ ย วข อ งเข า มาในบริ เ วณ
พื ้ น ที ่ ท ำงาน
เก็ บ เครื ่ อ งมื อ ที ่ ไ ม ไ ด ใ ช ง าน
5.
เมื ่ อ ไม ไ ด ใ ช ง าน ให เ ก็ บ เครื ่ อ งมื อ ในบริ เ วณที ่ แ ห ง และป ด ล็ อ คไว อ ย า งปลอดภั ย
ให พ  น มื อ เด็ ก
ห า มใช เ ครื ่ อ งมื อ เกิ น กว า พิ ก ั ด
6.
เครื ่ อ งมื อ จะทำงานได ด ี ก ว า และปลอดภั ย กว า หากใช ง านตามในพิ ก ั ด ที ่ ไ ด
กำหนดให ใ ช
ใช เ ครื ่ อ งมื อ ที ่ เ หมาะสมกั บ งานที ่ ท ำ
7.
ไม ค วรพยายามใช เ ครื ่ อ งมื อ เล็ ก ๆ ในการทำงานหนั ก อย า ใช เ ครื ่ อ งมื อ ในงานที ่
ผิ ด วั ต ถุ ป ระสงค ใ นการใช ง านของเครื ่ อ ง เช น อย า ใช เ ลื ่ อ ยวงเดื อ นในการตั ด กิ ่ ง
ต น ไม ห รื อ ท อ นซุ ง
แต ง กายให เ หมาะสม
8.
อย า สวมใส เ สื ้ อ ผ า หรื อ เครื ่ อ งประดั บ ที ่ ห ลวม เนื ่ อ งจากอาจจะถู ก ดึ ง เข า ไปใน
ส ว นที ่ เ คลื ่ อ นได ข องเครื ่ อ งมื อ ควรสวมรองเท า นิ ร ภั ย กั น ลื ่ น ในขณะกำลั ง
ทำงานกลางแจ ง สวมที ่ ค ลุ ม ผมเพื ่ อ เก็ บ ผมที ่ ย าวเอาไว
ใช อ ุ ป กรณ ป  อ งกั น อั น ตราย
9.
สวมแว น ตานิ ร ภั ย ตลอดเวลา ใช ห น า กากครอบหน า หรื อ กั น ฝุ  น เมื ่ อ ต อ ง
ทำงานที ่ ก  อ ให เ กิ ด ฝุ  น หรื อ อนุ ภ าคที ่ ฟ ุ  ง กระจาย ถ า อนุ ภ าคเหล า นี ้ ค  อ นข า ง
จะร อ น ให ส วมผ า ทนความร อ น สวมอุ ป กรณ ป  อ งกั น หู ต ลอดเวลา ใส ห มวก
นิ ร ภั ย ตลอดเวลา
ต อ อุ ป กรณ ก ำจั ด ฝุ  น เพื ่ อ ใช ง าน
10.
ถ า เครื ่ อ งมื อ มี อ ุ ป กรณ ท ี ่ ใ ช ด ั ก จั บ และกำจั ด ฝุ  น ดู ใ ห แ น ใ จว า อุ ป กรณ เ หล า นี ้
ต อ อยู  แ ละใช อ ย า งเหมาะสม
ห า มใช ง านสายไฟของเครื ่ อ งมื อ อย า งผิ ด วิ ธ ี
11.
ห า มกระชากสายไฟเพื ่ อ ดึ ง ปลั ๊ ก ออกจากเต า เสี ย บ เก็ บ สายไฟให ห  า งจาก
ความร อ น น้ ำ มั น และวั ต ถุ ม ี ค ม ห า มหิ ้ ว เครื ่ อ งมื อ ด ว ยสายไฟ
ยึ ด ชิ ้ น งานให แ น น
12.
หากเป น ไปได ให ใ ช ท ี ่ ห นี บ หรื อ ปากกาจั บ ชิ ้ น งานเพื ่ อ ยึ ด ชิ ้ น งาน เนื ่ อ งจาก
จะปลอดภั ย กว า และช ว ยให ส ามารถใช ม ื อ ทั ้ ง สองข า งจั บ เครื ่ อ งมื อ ได อ ย า งอิ ส ระ
อย า ใช ง านโดยการเอื ้ อ ม
13.
ขณะใช เ ครื ่ อ งมื อ ควรยื น ให ม ั ่ น คงและมี ค วามสมดุ ล อยู  ต ลอดเวลา
เก็ บ รั ก ษาและดู แ ลเครื ่ อ งมื อ อย า งดี
14.
เก็ บ รั ก ษาเครื ่ อ งมื อ สำหรั บ ตั ด ให ค มและสะอาดอยู  เ สมอเพื ่ อ ประสิ ท ธิ ภ าพ
ในการใช ง านและความปลอดภั ย ทำตามข อ ปฏิ บ ั ต ิ ใ นการหล อ ลื ่ น และการ
เปลี ่ ย นชิ ้ น ส ว น ตรวจสอบเครื ่ อ งมื อ อย า งสม่ ำ เสมอ และหากพบว า เสี ย หาย
ต อ งให ต ั ว แทนบริ ก ารที ่ ไ ด ร ั บ อนุ ญ าต ทำการซ อ มเครื ่ อ งมื อ นั ้ น รั ก ษาด า มจั บ
และสวิ ต ช ข องเครื ่ อ งให แ ห ง และสะอาด ปราศจากน้ ำ มั น หรื อ คราบมั น
ถอดสายไฟของเครื ่ อ งมื อ
15.
เมื ่ อ ไม ไ ด ใ ช ง าน หรื อ ก อ นการซ อ ม หรื อ เมื ่ อ ต อ งการเปลี ่ ย นอุ ป กรณ เ สริ ม เช น
ใบตั ด ดอกสว า น หรื อ ใบมี ด ให ถ อดเครื ่ อ งมื อ ออกจากแหล ง จ า ยไฟก อ น
36
ถอดกุ ญ แจปรั บ และประแจ
16.
ก อ นที ่ จ ะเป ด เครื ่ อ ง ควรจะตรวจสอบให เ ป น นิ ส ั ย ว า ได ถ อดประแจสำหรั บ
ปรั บ ตั ้ ง ต า งๆ ออกเรี ย บร อ ยแล ว
หลี ก เลี ่ ย งการเป ด เครื ่ อ งมื อ โดยไม ไ ด ต ั ้ ง ใจ
17.
ไม ค วรถื อ เครื ่ อ งมื อ โดยวางนิ ้ ว อยู  บ นปุ  ม เป ด ป ด ก อ นเสี ย บปลั ๊ ก ตรวจสอบ
ให แ น ใ จว า สวิ ต ช อ ยู  ใ นตำแหน ง "ป ด " อยู 
ใช ส ายต อ พ ว งสำหรั บ ใช ง านกลางแจ ง
18.
ตรวจสอบสายไฟต อ พ ว งที ่ จ ะใช ก  อ นการใช ง านและเปลี ่ ย นเส น ใหม ถ  า พบว า
สายไฟมี ค วามเสี ย หาย ในการใช ง านเครื ่ อ งมื อ กลางแจ ง ควรใช ส ายไฟต อ พ ว ง
สำหรั บ ใช ง านกลางแจ ง ซึ ่ ง มี เ ครื ่ อ งหมายบอกไว เ ท า นั ้ น
ขณะใช ใ ห ต ื ่ น ตั ว อยู  เ สมอ
19.
ให ม ี ส มาธิ ก ั บ สิ ่ ง ที ่ ก ำลั ง ทำ ใช ว ิ จ ารณญาณ ห า มใช เ ครื ่ อ งมื อ ขณะที ่ ร  า งกาย
อ อ นล า หรื อ ได ร ั บ ผลกระทบจากของมึ น เมาหรื อ ยาต า งๆ
ตรวจหาชิ ้ น ส ว นที ่ บ กพร อ ง
20.
ก อ นการใช ง าน ให ต รวจสอบเครื ่ อ งมื อ และสายไฟอย า งระมั ด ระวั ง เพื ่ อ ให
มั ่ น ใจว า เครื ่ อ งจะทำงานถู ก ต อ งและสามารถใช ง านได ตรวจดู ว  า มี ส  ว นที ่
บิ ด เบี ้ ย ว มี ก ารติ ด ขั ด ในส ว นที ่ เ คลื ่ อ นไหวได มี ช ิ ้ น ส ว นที ่ แ ตกหั ก หรื อ มี ส ภาพ
อื ่ น ใดที ่ อ าจมี ผ ลต อ การใช ง านของเครื ่ อ งมื อ หรื อ ไม หากตั ว ป อ งกั น หรื อ ชิ ้ น ส ว น
เกิ ด ความเสี ย หาย ควรจะให ศ ู น ย บ ริ ก ารที ่ ไ ด ร ั บ อนุ ญ าตทำการซ อ มหรื อ เปลี ่ ย น
ชิ ้ น ส ว นนั ้ น ๆ เว น แต จ ะมี ก ารระบุ ไ ว เ ป น อย า งอื ่ น ในคู  ม ื อ การใช ง าน ให ศ ู น ย
บริ ก ารที ่ ไ ด ร ั บ อนุ ญ าตทำการเปลี ่ ย นสวิ ต ช ท ี ่ เ สี ย
ห า มใช เ ครื ่ อ งมื อ นี ้ ถ  า ไม ส ามารถเป ด และป ด สวิ ต ช ไ ด ห า มทำการซ อ มเครื ่ อ งมื อ
ด ว ยตั ว เอง
คำเตื อ น!
การใช อ ุ ป กรณ เ สริ ม หรื อ ส ว นประกอบหรื อ ขั ้ น ตอนการ
ใช ง านใดๆ ที ่ น อกเหนื อ จากที ่ ไ ด แ นะนำในคู  ม ื อ การใช ง านนี ้ อ าจจะ
ก อ ให เ กิ ด ความเสี ่ ย งในการเกิ ด การบาดเจ็ บ ต อ บุ ค คลได
ให ช  า งที ่ ผ  า นการรั บ รองทำการซ อ มแซมเครื ่ อ งของคุ ณ
21.
เครื ่ อ งมื อ ไฟฟ า นี ้ ไ ด ร ั บ การออกแบบมาตามข อ กำหนดเพื ่ อ ความปลอดภั ย ที ่
เกี ่ ย วข อ ง การซ อ มแซมอุ ป กรณ น ี ้ ค วรทำโดยช า งที ่ ผ  า นการรั บ รอง และใช
เฉพาะชิ ้ น ส ว นของแท เ ท า นั ้ น มิ เ ช น นั ้ น อาจเกิ ด อั น ตรายต อ ผู  ใ ช ไ ด
กฎเพิ ่ ม เติ ม เพื ่ อ ความปลอดภั ย ในการใช ง านแท น ตั ด องศา
เครื ่ อ งมื อ นี ้ ม าพร อ มกั บ สายไฟที ่ ก ำหนดไว เ ป น พิ เ ศษ ซึ ่ ง เปลี ่ ย นได เ ฉพาะบริ ษ ั ท
ผู  ผ ลิ ต หรื อ ตั ว แทนผู  ใ ห บ ริ ก ารที ่ ไ ด ร ั บ อนุ ญ าตเท า นั ้ น
ห า มใช เ ครื ่ อ งตั ด ในการตั ด วั ส ดุ อ ื ่ น ที ่ น อกเหนื อ จากที ่ ผ ู  ผ ลิ ต ได ร ะบุ ใ ห ใ ช
ห า มใช เ ครื ่ อ งมื อ นี ้ โ ดยไม ม ี ต ั ว ป อ งกั น หรื อ หากตั ว ป อ งกั น ไม ท ำงานหรื อ ไม ไ ด
มี ก ารบำรุ ง รั ก ษาอย า งถู ก ต อ ง
ตรวจสอบให แ น ใ จว า ได ย ึ ด แขนตั ด อย า งแน น หนาแล ว ในขณะตั ด แบบตั ด มุ ม
พื ้ น รอบๆ เครื ่ อ งมื อ จะต อ งได ร ะดั บ มี ก ารดู แ ลเป น อย า งดี และปราศจาก
วั ส ดุ ท ี ่ ห ลุ ด ร อ น เช น เศษไม หรื อ เศษวั ส ดุ อยู  ต ลอดเวลา
ใช ใ บตั ด ที ่ ล ั บ คมอย า งเหมาะสม ดู ค วามเร็ ว สู ง สุ ด ที ่ ส ามารถใช ง านได ข อง
ใบตั ด บนใบตั ด
ตรวจสอบให แ น ใ จว า ลู ก บิ ด สำหรั บ ล็ อ คและตั ว หนี บ ต า งๆ ยึ ด แน น ดี แ ล ว
ก อ นเริ ่ ม ใช ง านทุ ก ครั ้ ง
ห า มสอดมื อ ทั ้ ง สองข า งเข า ไปในบริ เ วณใบตั ด ขณะที ่ เ ครื ่ อ งตั ด ยั ง ต อ กั บ
แหล ง จ า ยไฟ
ห า มหยุ ด การทำงานของเครื ่ อ งซึ ่ ง กำลั ง หมุ น อย า งรวดเร็ ว โดยการใช
เครื ่ อ งมื อ เข า ไปขั ด ไว ห รื อ ใช ว ิ ธ ี ใ ดๆ ในการฝ น ใบตั ด มิ เ ช น นั ้ น อาจทำให
เกิ ด อุ บ ั ต ิ ร  า ยแรงได
ก อ นที ่ จ ะใช ง านอุ ป กรณ เ สริ ม ใดๆ ให ศ ึ ก ษาจากคู  ม ื อ การใช ง านเสี ย ก อ น
การใช ง านอุ ป กรณ เ สริ ม ที ่ ไ ม เ หมาะสมอาจก อ ให เ กิ ด ความเสี ย หายได
ใช ท ี ่ จ ั บ หรื อ สวมถุ ง มื อ ขณะจั บ ใบตั ด
ตรวจให แ น ใ จว า ได ใ ส ใ บตั ด อย า งถู ก ต อ งก อ นการใช ง าน
เลื อ กใบตั ด ให เ หมาะสมกั บ วั ส ดุ ท ี ่ จ ะตั ด
ตรวจสอบว า ใบตั ด หมุ น ในทิ ศ ทางที ่ ถ ู ก ต อ ง
ห า มใช ใ บตั ด ที ่ ม ี ข นาดเส น ผ า ศู น ย ก ลางใหญ ห รื อ เล็ ก กว า ที ่ ก ำหนด ให ด ู ข นาด
ของใบตั ด ที ่ เ หมาะสมได ใ นหั ว ข อ ข อ มู ล ทางด า นเทคนิ ค ใช ง านใบตั ด ตามที ่
กำหนดในคู  ม ื อ นี ้ ซึ ่ ง เป น ใบตั ด ที ่ ต รงตามมาตรฐาน EN 847-1
พิ จ ารณาเลื อ กใช ใ บตั ด ที ่ ม ี เ สี ย งรบกวนต่ ำ
อย า ใช ใ บตั ด เหล็ ก กล า รอบสู ง (HSS)
อย า ใช ใ บตั ด ที ่ แ ตกหั ก หรื อ ชำรุ ด
ห า มใช เ ครื ่ อ งตั ด กั บ จานขั ด เด็ ด ขาด

Advertisement

Table of Contents
loading

Table of Contents